Jump to content

Draft:สมาคมกีฬาฟันดาบแห่งประเทศไทย

From Wikipedia, the free encyclopedia
โลโก้สมาคมกีฬาฟันดาบแห่งประเทศไทยฯ

ประวัติกีฬาฟันดาบ[edit]

กีฬาฟันดาบ คือ ศิลปะในการเข้าทำและตั้งรับด้วยดาบหรืออาวุธที่มีลักษณะคล้าย ๆ กัน กีฬาฟันดาบสมัยใหม่เป็นกีฬาที่ใช้แข่งขันที่ให้ความสนุกสนาน กฎและเทคนิคต่าง ๆ มีรากฐานที่พัฒนามาจากการใช้ดาบในสมัยโบราณที่ฝึกฝนเพื่อประสิทธิภาพในการรบ

ในสมัยยุคกลางศตวรรษที่ 5 ถึง 15[edit]

ดาบถูกใช้เป็นอาวุธในเชิงรุกใช้สำหรับทำลายเกราะและเสื้อเกราะ ต่อมาใช้สำหรับการรบในระยะประชิดตัว หลังจากพ้นวิถีอาวุธปืน พัฒนาการของดาบนั้นดำเนินการโดยต่อเนื่องมีใช้กันอย่างแพร่หลายทั้งเอเชียและยุโรป เมื่อเกราะขนาดใหญ่เริ่มที่จะล้าสมัย ดาบจึงถูกใช้เป็นอาวุธสำหรับการตั้งรับและดีพอ ๆ กับการใช้เป็นอาวุธในเชิงรุก

ในศตวรรษที่ 16 ถึง 18[edit]

ดาบชนิดเรียวตรงเริ่มเป็นที่รู้จักกันในอิตาลี ศิลปะการใช้ดาบเริ่มแพร่หลายอย่างรวดเร็ว อีกนัยหนึ่งดาบสั้นสองคมและโกร่งดาบได้ถูกพัฒนาให้มีส่วนหนาและบางเพื่อเป็นตัวแทนสัญลักษณ์ของเกราะ และได้ถูกนำเข้ามาเป็นเครื่องมือพิสูจน์ความกล้าและเก่งดังเช่นอัศวินผู้กล้าในสมัยโบราณ โดยไม่ประสงค์ที่จะให้คู่ต่อสู้ถึงแก่ชีวิตในสนามประลอง ในทางปฏิบัติทั่ว ๆ ไปแขนที่ไม่มีดาบคือแขนซ้ายจะปล่อยเป็นอิสระ และพยายามทำแขนที่ถือดาบเป็นตัวปิดบ้องเป้าหมายให้เหลือน้อยที่สุดการใช้ดาบชนิดเรียวตรง และเทคนิคดาบของอิตาลีได้แพร่หลายไปทั่วยุโรป เฉพาะในฝรั่งเศสและอิตาลี ขนาดและรูปร่างของดาบชนิดเรียวตรงได้รับการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ มีผลทำให้ความยาวและน้ำหนักถูกปรับแต่งจนจับถือได้สะดวกขึ้น

ในศตวรรษที่ 18[edit]

ดาบขนาดเล็ก หรือ ดาบเอเป้ ได้ถูกสร้างขึ้นและแพร่หลายในฝรั่งเศส อาวุธชนิดใหม่นี้เป็นผลการรวมของลักษณะเด่นของ ดาบอิตาลีและฝรั่งเศส อิตาลีใช้ดาบชนิดเรียวตรงในการแสดงความกล้าหาญ การใช้เสียง ท่าทางที่ดูเข้มแข็ง ฝรั่งเศสใช้ดาบเอเป้ในลักษณะที่เป็นทางการมากๆ การควบคุมการเคลื่อนไหวอย่างดี รูปแบบดาบของฝรั่งเศสเริ่มที่จะมีชื่อเสียงมากขึ้น กฎที่เป็นทางการส่วนใหญ่ที่ใช้ในการแข่งขันยุคสมัยใหม่ และคำศัพท์ในรูปแบบต่าง ๆ ของดาบสากลส่วนใหญ่จะใช้ภาษาฝรั่งเศส

ในศตวรรษที่ 19 ถึง ปัจจุบัน[edit]

การต่อสู้โดยทั่วไปเป็นสิ่งที่ผิดกฎหมาย และโรงเรียนสอนฟันดาบ เริ่มเปลี่ยนมาเป็นการสอนฟันดาบเพื่อการกีฬา อุปกรณ์ส่วนใหญ่ยังคงใช้และถูกพัฒนาในตอนนี้ด้วย รวมทั้งถุงมือที่สวมในข้างที่ถือดาบ ปลาสตอง เกราะอก และหน้ากากที่ถักด้วยเส้นตาข่ายเหล็ก

En Garde (อังการ์ด) เป็นคำบอกเตรียมพร้อมสำหรับนักกีฬาฟันดาบโอลิมปิค เป็นคำที่ใช้สืบทอดเพื่อสร้างความตื่นตัวสำหรับนักฟันดาบสมัยกลางที่ต่อเนื่องเป็นประเพณีจนถึงยุคปัจจุบัน ในความเป็นจริงแล้ว การรับและการตอบดาบ ของ Errol Flynn ในเรื่อง Captain Blood bear Little นั้นคล้ายคลึงกับการแข่งขันดาบสากลในโอลิมปิค ซึ่งนักกีฬาจะเล่นไปตามแผ่นพื้นที่กำหนด (สนามประลองดาบ) ต่อสายไฟไปยังเครื่องให้คะแนน และสวมเสื้อผ้าป้องกันอันตราย กีฬาฟันดาบเคยถูกเปรียบเปรยว่า หมากรุกที่ประกอบด้วยกล้ามเนื้อ เพราะว่ามีทั้ง ยุทธศาสตร์ และการกีฬา

กีฬาฟันดาบโอลิมปิค จะใช้หนึ่งในอาวุธสามชนิดในการประลอง ได้แก่ ดาบฟอยล์ (Foil) เป็นดาบที่ยืดหยุ่นและเบา เป็นดาบที่เริ่มต้นสำหรับการฝึกฝนก่อนไปรบ การแทงจะใช้เพียงแค่ปลายดาบสัมผัสบริเวณลำตัว ดาบเอเป้(Épée) เป็นดาบที่วิวัฒนาการมาจากดาบที่ใช้ในการรบ การแทงต้องใช้ที่ปลายดาบเช่นเดียวกับดาบฟอยล์ แต่สามารถทำแต้มได้ทั่วร่างกาย ดาบเซเบอร์(Sabre) เป็นดาบที่พัฒนามาจากดาบทหารม้า เป้าหมายคือครึ่งตัวด้านบนของลำตัว

ประวัติกีฬาฟันดาบในประเทศไทย[edit]

ยุคเริ่มแรก[edit]

ประวัติการเล่นกีฬาฟันดาบในประเทศไทยในลักษณะที่เป็นกีฬาแข่งขันนั้น สันนิษฐานโดยการพิจารณาหลักฐานต่าง ๆ คาดว่าเข้ามาสู่ประเทศไทยราว ๆ สมัยรัชกาลที่ 4 โดยเข้ามากับชาติตะวันตกกที่เข้ามาเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศไทยในครั้งนั้น คนไทยเราเรียกดาบนี้ว่าดาบฝรั่ง ซึ่งนำติดตัวสำหรับเป็นเครื่องประดับการแต่งกายเพื่อบ่งบอกฐานันดร ไม่ได้มีไว้ป้องกันตัวดังแต่ก่อน ดาบมีลักษณะเล็ก เพรียวบาง ซึ่งมีการฝึกฝนเล่นกันบ้างแต่ก็เฉพาะในกลุ่มชาวตะวันตก ซึ่งคนไทยเองก็คงไม่รู้สึกแปลกอะไร อาจจะดูไม่คุ้นตาบ้างเพราะดาบของฝรั่งนั้นใช้ในการเกี่ยวแทงเป็นหลัก ตลอดด้ามไม่มีคม หรืออาจมีคมบ้าง แต่ไม่คมมาก เพราะจุดประสงค์เพียงเป็นเครื่องประดับฐานะเท่านั้น

28 พฤศจิกายน 2438 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าฯ ได้เสด็จพระราชดำเนินมาพระราชทานประกาศนียบัตรและรางวัลแก่คะเด็ดที่สอบไล่ได้ ในการนี้ได้พระราชทานเป็นตุ๊กตาฟันดาบฝรั่ง ให้โรงเรียนนายร้อยไว้ 1 คู่ เพื่อเป็นเกียรติยศสำหรับโรงเรียนต่อไป มีคำจารึกที่ฐานรูปว่า "พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานแก่โรงเรียนทหารบกเป็นที่ระลึกในการเสด็จพระราชดำเนิน เมื่อ วันที่ 28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2438" นับเป็นครั้งแรกที่เราได้ทราบประวัติที่มีความเกี่ยวข้องกับกีฬาฟันดาบ ปัจจุบันตุ๊กตาคู่นี้อยู่ที่พิพิธภัณฑ์โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า เขาชะโงก จังหวัดนครนายก

สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ได้มีการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะด้านการทหาร การศึกษา โดยได้มีการส่งพระราชโอรสไปศึกษาวิทยาการในทุกด้านตามที่พระองค์ท่านเห็นเหมาะสมว่าโอรสพระองค์ใดเหมาะสมกับกิจการ ประเภทใด พระราชโอรสเหล่านี้ได้กระจายไปศึกษาในประเทศต่าง ๆ ทั้งอังกฤษ เยอรมัน ฝรั่งเศส รัสเซีย เป็นต้น พระราชโอรสเหล่านี้มีหลายพระองค์ที่ทรงศึกษาด้านการทหาร พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ส่งไปศึกษาวิชาที่ยุโรป เป็นพระเจ้าลูกยาเธอรุ่นใหญ่ ซึ่งมี 4 พระองค์ด้วยกัน คือ

- พระองค์เจ้ากิตติยาวรลักษณ์ กรมพระยาจันทบุรีนฤนาถ

- พระองค์เจ้ารพีพัฒนศักดิ์ กรมหลวงราชบุรีดำรงฤทธิ์

- พระองค์เจ้าประวัตรวัฒโนดม กรมหลวงปราจีณกิติบดี

และกรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช ซึ่งมีพระชันษาอ่อนที่สุด พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงกำหนดให้ศึกษาวิชาฝ่ายทหาร ในขณะที่พระเชษฐาเข้ารับการศึกษาฝ่ายพลเรือนโดยเข้ารับการศึกษาวิชาการทหารที่ประเทศเดนมาร์ก เนื่องด้วยพระสหายสนิทของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ในเวลานั้นคือ พระเจ้าคริสเตียนที่ 9 แห่งเดนมาร์กมีพระราชประสงค์ที่จะอุปการะ

เครื่องแต่งกายชุดเครื่องแบบทหารประจำพระองค์ในยุคแรกๆ จะมีกระบี่ประดับกายอยู่ด้วย กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดชได้ศึกษาอยู่ ณ ประเทศเดนมาร์กเป็นเวลา 2 ปี จึงได้รับพระราชทานยศ เป็นนายทหารสัญญาบัตรยศร้อยตรี ในกรมทหารเดนมาร์ก และทรงเลือกที่จะเป็นนายทหารปืนใหญ่เป็นการเข้าศึกษาวิชาทหารเป็นพระองค์แรกของไทยในภาคพื้นทวีปยุโรปนั้น จึงสันนิษฐานได้ว่าพระองค์ท่านน่าจะเป็นพระองค์แรกที่ได้รับการฝึกฝนใช้ดาบแบบฝรั่ง ในปี พ.ศ. 2440 ครั้งนั้น

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ เสด็จประพาสยุโรปเป็นครั้งแรก ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช ตามเสด็จไปยังราชสำนักนานาประเทศด้วย และในระหว่างนั้นมีอยู่ระยะหนึ่งที่สมเด็จพระเจ้านิโคลาสที่ 2 แห่งรัสเซีย ได้ทูลขอให้กรมหลวงนครไชยศรีสุรเดช เสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรการประลองยุทธในรัสเซียด้วย หลังจากทรงสำเร็จวิชาการทหารแล้วได้ส่งกลับมาปรับปรุงกิจการทางทหาร โดยเฉพาะทรงเป็นกำลังอันสำคัญในการวางรากฐานให้กับกองทัพไทย

จอมพลสมเด็จพระกรมหลวงพิษณุโลกประชานาถ พระโอรสองค์ที่ 40 ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ และองค์ที่ 4 ในสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ เป็นอีกพระองค์หนึ่งที่น่าจะมีความเกี่ยวข้องกับการนำกีฬาฟันดาบเข้ามาในประเทศไทย พระองค์ท่านเสด็จไปศึกษาต่อ ณ ประเทศอังกฤษเมื่อปี พ.ศ. 2435

ในปี พ.ศ. 2440 พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ โปรดให้ทรงดำรงตำแหน่งนักเรียนพิเศษของโรงเรียนทหารสราญรมย์ พร้อมกับสมเด็จพระเจ้าลูกยาเจ้าฟ้ากรมขุนนครสวรรค์พินิต ต่อมาในปี พ.ศ. 2441 ทรงเข้ารับการการศึกษาวิชาทหารบก ณ ประเทศรัสเซีย ตามพระราชประสงค์ของสมเด็จพระเจ้าซาร์นิโคลาสที่ 2 ที่ทรงอุปการะให้การศึกษา ผลการศึกษาในโรงเรียนนายร้อยมหาดเล็กและโรงเรียนเสนาธิการทหารแสดงให้เห็นถึง พระอัจฉริยะในการศึกษาและพระปรีชาสามารถที่ยอดเยี่ยม ด้วยทรงสามารถสอบไล่ได้เป็นลำดับที่ 1 จากสถาบันทั้ง 2 แห่ง จนได้รับเกียรติจารึกพระนามลงบนแผ่นศิลาตามประเพณีของโรงเรียน ในขณะที่ศึกษาหลักสูตร นายทหารเสนาธิการนั้น พระองค์ทรงปฏิบัติหน้าที่หน้าที่ราชการที่กรมทหารม้าฮุสซาร์ไปพร้อมกันด้วย

จากการที่ทรงอยู่ในหน่วยทหารม้านี่เอง ทำให้เชื่อว่าพระองค์ท่านจะต้องได้รับการฝึกดาบเซเบอร์บนหลังม้า ซึ่งเป็นหลักสูตรหนึ่งที่สำคัญของหน่วยทหารม้าที่มีชื่อเสียงนี้ โดยสังเกตได้จากในครั้งพระองค์ท่านเป็นผู้บัญชาการโรงเรียนนายร้อยทหารบกได้มีการบรรจุวิชาฟันดาบรวมอยู่ในหลักสูตรโรงเรียนนายร้อยทหารบกด้วย

สำหรับเหตุการณ์สำคัญที่เกี่ยวข้องกับวงการฟันดาบคือการที่พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวฯ ทรงพระพระราชทานกระบี่และยศนายทหารสัญญาบัตรแก่นักเรียนนายร้อยทหารบกขึ้นเป็นครั้งแรกเมื่อ 26 มีนาคม 2471 โดยที่ผ่าน ๆ มานั้นเป็นเพียงการพระราชทานรางวัล จนเป็นประเพณีสืบต่อมาจนถึงทุกวันนี้ กระบี่ที่พระราชทานนั้นเป็นสัญลักษณ์ของดาบที่ใช้ติดตัว และในครั้งนั้นนักเรียนนายร้อยชั้นปีที่หกที่ 6 ที่สำเร็จออกเป็นนายทหารได้การแสดงชุดกีฬาการต่อสู้ดาบอาวุธไทยโบราณและการฟันดาบต่อหน้าพลับพลาพระที่นั่งด้วย

การฝึกฟันดาบของนักเรียนนายร้อย ตามหลักสูตร[edit]

การฝึกฟันดาบมีอยู่ในหลักสูตรของโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้ามาเป็นเวลานานก่อนปี พ.ศ. 2475 นักเรียนนายร้อยในอดีตที่เป็นนักฟันดาบสากลที่มีฝีมือดี เคยแสดงหน้าพระที่นั่งถวายให้พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว คราวเสด็จพระราชดำเนินมาที่โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า ได้ทอดพระเนตร คือ นักเรียนนายร้อยตุ๊ จารุเสถียร ฟันดาบคู่กับ นักเรียนนายร้อยถวิล ตุละวรรธนะ ครูสอนฟันดาบสากลคือ หม่อมหลวงพุฒิ สนิทวงศ์ และลูกศิษย์เอกของท่านอีกหนึ่งคือ นักเรียนนายร้อยเทียนชัย สิริสัมพันธ์ ซึ่งได้เคยฟันดาบคู่กับนักเรียนนายร้อย วาที สุวรรณยิ่ง แสดงถวายหน้าพระที่นั่งเมื่อครั้งพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล เสด็จพระราชดำเนินมาที่โรงเรียนนายร้อย

นอกจากนี้ยังได้มีหลักฐานจากการสนทนากันระหว่าง พล.ท.นคร จินดาวัฒนะ อดีตเจ้ากรมส่งกำลังบำรุงทหารบกกับผู้เขียนเมื่อครั้งดูงานแสดงการบินที่สิงคโปร์ในปี พ.ศ. 2544 ว่าประมาณปี พ.ศ. 2500 - 2503 เมื่อครั้งท่าน พล.ท.จินดา เป็นนักเรียนมัธยม ที่โรงเรียนเทพศิรินทร์มีการสอนฟันดาบโดยอาจารย์ท่านหนึ่ง ซึ่งผู้เขียนได้สอบถามจนแน่ใจว่าเป็นดาบสากลเพราะได้มีการระบุถึงดาบเอเป้ ฟอยล์และเซเบอร์อย่างชัดเจน โดยมีการสอนกันอย่างจริงจังและมีแบบแผน สันนิษฐานว่าอาจารย์ท่านที่สอนนี้จะเป็นนักเรียนนอกที่จะจบมาจากยุโรป ที่จริงท่าน พล.ท.จินดา ได้เอ่ยนามอาจารย์ไว้ แต่เป็นที่น่าเสียดายว่าผู้เขียนจำชื่ออาจารย์ท่านนี้ไม่ได้

ประเทศไทยเราเคยมีนักกีฬาฟันดาบที่เป็นตัวแทนของมหาวิทยาลัย Oxford คือท่านรัชนีพัฒ รัชนี เป็นนักกีฬาฟันดาบฟอยล์ อีกท่านหนึ่งคือท่านอาจารย์ทำเนียบ อัศววิทย์ ท่านเคยเป็นแชมป์ภาคตะวันออกของประเทศฝรั่งเศส โดยทั้งสองท่านนี้ ในปี พ.ศ. 2508 ซึ่งขณะนั้นอายุเกือบ 70 ปีแล้ว ได้เข้ามาช่วยสมาคมในยุคต้น แนะนำในหลักวิชาการ วิธีการเล่น ซึ่งนับว่าเป็นประโยชน์อย่างมาก

นายกสมาคม และเลขาธิการสมาคมกีฬาฟันดาบแห่งประเทศไทย[edit]

รายชื่อนายก และเลขาธิการ สมาคมกีฬาฟันดาบแห่งประเทศไทย
ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2508 - พ.ศ. 2510 หลวงสุขุม นัยประดิษฐ์

ร.อ. เสน่ห์ วงศ์ชะอุ่ม

(ไม่มีภาพ)

ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2510 - พ.ศ. 2531 พล.อ.อ. ทวี จุลละทรัพย์

น.อ. ภูมิ หุราพันธ์

(ไม่มีภาพ)

ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2532 - พ.ศ. 2536 พล.อ. สุรยุทธ์ จุลานนท์

รศ.ดร.ธงธวัช อนุตระหานนท์

ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2537 - พ.ศ. 2540 พล.ต.ต. คำนึง ธรรมเกษม

(ไม่มีภาพ)

พ.ต.อ. ชัชวาล วชิรปราณีกุล

(ไม่มีภาพ)

ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2540 - พ.ศ. 2542 พล.ต.ท. วิเชียร โพธิ์ศรี

พ.ต.อ. ชัชวาล วชิรปราณีกุล

(ไม่มีภาพ)

ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2542 - พ.ศ. 2544 พล.ต.ท. ดรุณ โสตถิพันธุ์

พล.อ.เจริญ นพสุวรรณ

ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2544 - พ.ศ. 2552 พล.อ. ชัยสิทธิ์ ชินวัตร

พล.อ. สุรฤทธิ์ จันทราทิพย์

ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2552 - พ.ศ. 2563 พล.ร.อ. สมเดช ทองเปี่ยม

พล.ท. จักราวุธ โสมภีร์

ดำรงตำแหน่งระหว่างปี พ.ศ. 2563 - ปัจจุบัน พล.ร.อ. สมเดช ทองเปี่ยม

พล.อ. ชาญชัย ยศสุนทร

ผลงานนักกีฬาฟันดาบทีมชาติไทยใน มหกรรมกีฬาซีเกมส์ SEA Games[edit]

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 14
อินโดนีเซีย
พ.ศ.2530 สมาคมกีฬาฟันดาบแห่งประเทศไทยฯ ร่วมส่งนักกีฬาฟันดาบทีมชาติไทย เข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งแรก
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 15
มาเลเซีย
พ.ศ. 2532 Men's Individual Saber ยงยุทธ

หวังไพบูลย์กิจ

Men's Team Saber ยงยุทธ

หวังไพบูลย์กิจ

Men's Individual Epee ไตรจักร์

นาคะไพบูลย์

Women's Individual Foil วไลลักษณ์

พัฒนมุข

สุเมธ

จันทนป

มนัส

พรพิพัฒน์กุล

ไตรจักร์

นาคะไพบูลย์

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 16
ฟิลิปปินส์
พ.ศ. 2534 ไม่มี ไม่มี Men's Individual Saber เฉลิมชนม์

นาคนิล

Men's Individual Epee ชัยรัตน์

นนทการณ์

Women's Individual Epee ชุติมา

เชฏฐพินิจ

Women's Individual Foil มยุรี

วุฒิวะกุล

Men's Team Saber ยงยุทธ

หวังไพบูลย์กิจ

เฉลิมชนม์

นาคนิล

สุทธิพงษ์

สันติเทวกุล

Men's Team Epee ไตรจักร์

นาคะไพบูลย์

ชัยรัตน์

นนทการณ์

บัญชา

ธีระอนุปัญ

วรชาติ

รสจันทร์

ชาญณรงค์

เกษมกิจวัฒนา

Men's Team Foil สุเมธ

จันทนป

สรรพวัฒน์

สุขศิริ

เรืองยศ

ศรีวรพงษ์พันธ์

ชาญณรงค์

เกษมกิจวัฒนา

สุทธิพงษ์

สันติเทวกุล

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 17
สิงคโปร์
พ.ศ. 2536 ไม่มี ไม่มี Women's Individual Epee ชุติมา

เชฏฐพินิจ

Women's Team Epee ชุติมา

เชฏฐพินิจ

อารีรัตน์

สุโพธิ์

เจนจิรา

บินซอเล็ม

ปริยานุช

ณ ตะกั่วทุ่ง

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 18
ไทย
พ.ศ. 2538 Men's Individual Epee ศิริโรจน์

รัฐประเสริฐ

Men's Individual Saber สาเรศ

ลิ่มกังวาฬมงคล

Men's Individual Epee สมพล

ศรีสดใส

Women's Individual Epee เจนจิรา

บินซอเล็ม

Men's Individual Foil สุรชัย

อุดมสุข

Men's Team Epee สมพล

ศรีสดใส

Women's Individual Foil อัมพา

อุตสาหะ

ศิริโรจน์

รัฐประเสริฐ

นิรันดร

ฟักสุบรรณ

Men's Team Foil สุรชัย

อุดมสุข

Men's Team Saber สาเรศ

ลิ่มกังวาฬมงคล

คันฉัตร

คงไพรสัน

ยงยุทธ

หวังไพบูลย์กิจ

ปรีชา

ตันติรักษ์

วราวุธ

เมฆชัย

Women's Team Epee ชุติมา

เชฏฐพินิจ

เนตรชนก

มูลพินิจ

เจนจิรา

บินซอเล็ม

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 19
อินโดนีเซีย
พ.ศ. 2540 Men's Team Saber (ไม่ปรากฏรายชื่อ) ไม่มี Men's Individual Saber สาเรศ

ลิ่มกังวาฬมงคล

Men's Individual Epee ศิริโรจน์

รัฐประเสริฐ

Women's Individual Epee ชุติมา

เชฏฐพินิจ

Men's Team Epee (ไม่ปรากฏรายชื่อ)
Women's Team Epee ชุติมา

เชฏฐพินิจ

เจนจิรา

บินซอเล็ม

อุษา

พิทักษ์พิเศษ

Women's Team Foil อัมพา

อุสาหะ

ปริยานุช

ณ ตะกั่วทุ่ง

วรนุช

บุญมหานาค

พิมพ์ชุดา

วิเชียร

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 20
บรูไน
พ.ศ. 2542 เจ้าภาพไม่บรรจุกีฬาฟันดาบ
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 21
มาเลเซีย
พ.ศ. 2544 Women's Individual Epee ศิริธิดา

ชูโชคกุล

ไม่มี Men's Individual Saber สาเรศ

ลิ่มกังวาฬมงคล

Men's Individual Epee ศิริโรจน์

รัฐประเสริฐ

Men's Individual Foil นนทพัฒน์

ปานจันทร์

Men's Individual Foil ปรีชา

ตันติรักษ์

Women's Individual Epee เจนจิรา

บินซอเล็ม

Women's Individual Foil วรนุช

บุญมหานาค

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 22
เวียดนาม
พ.ศ. 2546 Men's Individual Epee ศิริโรจน์

รัฐประเสริฐ

Men's Individual Saber วีรเดช

คอธนีย์

Women's Individual Saber สุพรรณา

สมาบุตร

Women's Individual Epee ศิริธิดา

ชูโชคกุล

Men's Team Epee ศิริโรจน์

รัฐประเสริฐ

Women's Individual Foil นันทา

จันทสุวรรณสิน

Men's Individual Foil นนทพัฒน์

ปานจันทร์

ปรีชา

ตันติรักษ์

Men's Team Saber วีรเดช

คอธนีย์

ดัชกรณ์

ตันเจริญ

อิสิพงศ์

นาคน้อย

เอกเทศ

เกตุเอี่ยม

อัฐพล

รุ่งเรืองวงศ์

สหพันธ์

พูลทวี

Women's Team Saber สุพรรณา

สมาบุตร

พรพรรณ

หว่านณรงค์

รุ่งรัตน์

เทียมทอง

วัชราภรณ์

กิจรัตนวงศ์

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 23
ฟิลิปปินส์
พ.ศ. 2548 Men's Individual Epee ศิริโรจน์

รัฐประเสริฐ

Men's Individual Saber วีรเดช

คอธนีย์

Women's Individual Saber ศิรวลัย

สตารัตน์

Men's Individual Foil นนทพัฒน์

ปานจันทร์

Women's Individual Foil นันทา

จันทสุวรรณสิน

Women's Individual Epee ศิริธิดา

ชูโชคกุล

Men's Team Saber วีรเดช

คอธนีย์

Women's Team Saber สุพรรณา

สมาบุตร

Men's Team Foil นนทพัฒน์

ปานจันทร์

ศิรวลัย

สตารัตน์

ปรีชา

ตันติรักษ์

นวลจันทร์

พิมพ์แก้ว

ศุภกร

ศรีแตงอ่อน

เอกเทศ

เกตุเอี่ยม

วัชราภรณ์

กิจรัตนวงศ์

พัฒนพงศ์

ศรีสวัสดิ์

Men's Team Epee ศิริโรจน์

รัฐประเสริฐ

Women's Team Foil นันทา

จันทสุวรรณสิน

ทรงพล

ชีกว้าง

สาเรศ

ลิ่มกังวาฬมงคล

สุพจน์

ชวาลานฤมิตร

นุจรี

ดีจริง

ตรัย

บุตรรัตน์

Women's Team Epee ศิริธิดา

ชูโชคกุล

นันท์ทิพย์

ภูริยะพันธ์

กิตติคุณ

ตรัสวงศ์

ทัศนีพรรณ

สิวราวุฒิ

สุดชีวิต

กิจไกรลาส

ฐิติมา

โคตะสิน

พจนีย์

ซามาตย์

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 24
ไทย
พ.ศ. 2550 Men's Individual Saber วีรเดช

คอธนีย์

Men's Individual Foil นนทพัฒน์

ปานจันทร์

Women's Individual Saber ศิรวลัย

สตารัตน์

Women's Individual Foil นันทา

จันทสุวรรณสิน

Men's Team Saber วีรเดช

คอธนีย์

เอกเทศ

เกตุเอี่ยม

พัฒนะ

เทพมาลาพันธุ์ศิริ

กิตติคุณ

ตรัสวงศ์

Women's Team Epee ศิริธิดา

ชูโชคกุล

ทัศนีพรรณ

สิวราวุฒิ

Women's Team Saber ศิรวลัย

สตารัตน์

เจนจิรา

บินซอเล็ม

พจนีย์

ซามาตย์

สุพรรณา

สมาบุตร

Men's Team Foil นนทพัฒน์

ปานจันทร์

ปริญญา

หอปรีชากิจ

อริษา

ชวนสินธุ์

พัฒนพงศ์ ศรีสวัสดิ์
ศุภกร

ศรีแตงอ่อน

อุไรพร

แดนกมล

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games

ครั้งที่ 25 ลาว

พ.ศ. 2552 เจ้าภาพไม่บรรจุกีฬาฟันดาบ
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 26
อินโดเนีย
พ.ศ. 2554 Men's Individual Foil นนทพัฒน์

ปานจันทร์

Men's Individual Foil ศุภกร

ศรีแตงอ่อน

Men's Individual Saber วีรเดช

คอธนีย์

Men's Team Foil นนทพัฒน์

ปานจันทร์

Women's Individual Saber ศิรวลัย

สตารัตน์

Men's Individual Epee ปัณถวิทย์

ฉ่ำเจริญ

พัฒนพงศ์ ศรีสวัสดิ์ Women's Individual Epee วิจิตตา

ทาคำวงค์

Women's Individual Foil นันทา

จันทสุวรรณสิน

ศุภกร

ศรีแตงอ่อน

Men's Team Saber วีรเดช

คอธนีย์

พัฒนะ

เทพมาลาพันธุ์ศิริ

สถาบัน

นุชประไพ

สรรเสริญ

เงินรุ่งเรืองโรจน์

เรืองฤทธิ์

แหเกิด

Women's Team Saber ศิรวลัย

สตารัตน์

เปรมกมล

เบ็ญจวรรณ

Men's Team Epee ปัณถวิทย์

ฉ่ำเจริญ

นันทิพย์

ภูริยะพันธ์

อุไรพร

แดนกมล

Women's Team Epee วิจิตตา

ทาคำวงค์

วงศธร

ทรงประไพ

ศิริธิดา

ชูโชคกุล

วันวิภา

ทองเผือก

ดาเรศ

มากสิน

สุพจน์

ชวาลานฤมิตร

Women's Team Foil นันทา

จันทสุวรรณสิน

นวลจันทร์

พิมพ์แก้ว

วิทย์สรัช

ก้องสุวรรณคีรี

ชิดชนก

ลิ้มวัฒนะ

ทิพย์สุดา

บูระวัตรเดชา

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 27
พม่า
พ.ศ. 2556 เจ้าภาพไม่บรรจุกีฬาฟันดาบ
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 28
สิงคโปร์
พ.ศ. 2558 Men's Individual Foil นนทพัฒน์

ปานจันทร์

Women's Individual Saber ศิรวลัย

สตารัตน์

Men's Individual Saber วีรเดช

คอธนีย์

Women's Team Saber ศิรวลัย

สตารัตน์

Women's Individual Saber พรสวรรค์

เงินรุ่งเรืองโรจน์

Men's Individual Epee ปัณถวิทย์

ฉ่ำเจริญ

Women's Individual Epee วิจิตตา

ทาคำวงค์

พรสวรรค์

เงินรุ่งเรืองโรจน์

Women's Individual Foil นันทา

จันทสุวรรณสิน

Men's Team Foil นนทพัฒน์

ปานจันทร์

โสภณัฐ

มายะการ

ภัศรา

มนูญญา

ศุภกร

ศรีแตงอ่อน

ฐาปนันท์

ฟักอังกูร

Men's Team Epee ปัณถวิทย์

ฉ่ำเจริญ

ต้นป่าน

โพธิ์แก้ว

วงศธร

ทรงประไพ

สุพจน์

ชวาลานฤมิตร

นภัทร

เกลื่อนเพชร

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 29
มาเลเซีย
พ.ศ. 2560 ไม่มี Men's Individual Saber วรกันต์

ศรีนวลนัด

Men's Individual Foil ชลณสัล

มายะการ

Women's Individual Saber พรสวรรค์

เงินรุ่งเรืองโรจน์

Women's Individual Saber ต้นป่าน

โพธิ์แก้ว

Men's Individual Epee ปัณถวิทย์

ฉ่ำเจริญ

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 30
ฟิลิปปินส์
พ.ศ. 2562 Men's Individual Foil ชลณสัล

มายะการ

Men's Team Saber วรกันต์

ศรีนวลนัด

Men's Individual Saber วรกันต์

ศรีนวลนัด

Women's Individual Saber ต้นป่าน

โพธิ์แก้ว

Women's Team Saber พรสวรรค์

เงินรุ่งเรืองโรจน์

เรืองฤทธิ์

แหเกิด

Men's Team Epee ชินพัฒน์

เฉลิมชเนนทร์

กันต์พัฒน์

อนุพงษ์กุลกิจ

สรวิศ

กิจศิริบุญ

กรกฎ

จึงอำนวยชัย

ต้นป่าน

โพธิ์แก้ว

ณัฐติพงษ์

สิงห์คำ

ปณชัย

วิริยะตั้งสกุล

Women's Team Epee วิจิตตา

ทาคำวงศ์

Men's Team Foil ศุภกร

ศรีแตงอ่อน

กรวรรณ

ธานี

ต้นข้าว

โพธิ์แก้ว

กัญญาภัทร

มีชัย

พัฒนพงศ์ ศรีสวัสดิ์ พชรพร

วาสนะสมสิทธิ์

Women's Team Foil ชญานุศภัฒค์

ชินนะเกิดโชค

บัณฑิตา ศรีนวลนัด ชลณสัล

มายะการ

ศศินภัสสร์

ดวงพัตรา

พลอยไพลิน

ทองจำปา

ราชนาวี

ดีจริง

นันทา

จันทสุวรรณสิน

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 31
เวียดนาม
พ.ศ. 2565 ไม่มี Men's Individual Saber วรกันต์

ศรีนวลนัด

Men's Individual Saber เรืองฤทธิ์

แหเกิด

Men's Team Saber วรกันต์

ศรีนวลนัด

Women's Individual Epee กรวรรณ

ธานี

Women's Individual Foil ชญานุศภัฒค์

ชินนะเกิดโชค

เรืองฤทธิ์

แหเกิด

Women's Team Saber ต้นข้าว

โพธิ์แก้ว

บัณฑิตา

ศรีนวลนัด

ปณชัย

วิริยะตั้งสกุล

อรวิภา

อินนุรักษ์

Men's Team Epee ณัฐติพงษ์

สิงห์คำ

ชินพัฒน์

เฉลิมชเนนทร์

Women's Team Epee กรวรรณ

ธานี

กรกฏ

จึงอำนวยชัย

Men's Team Foil นทกช

หวังไพสิฐ

พัฒนพงศ์

ศรีสวัสดิ์

พชรพร

วาสนะสมสิทธิ์

ศิษฎิพัฒน์

ดวงพัตรา

Women's Team Foil ชญานุศภัฒค์

ชินนะเกิดโชค

กัญญาภัทร

มีชัย

ศศินภัสสร์

ดวงพัตรา

ชญาดา

สมิทธิสุกุล

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
SEA Games ครั้งที่ 32
กัมพูชา
พ.ศ. 2566 Men's Individual Saber วรกันต์

ศรีนวลนัด

Men's Team Epee ณัฐติพงษ์

สิงห์คำ

Men's Team Saber วรกันต์

ศรีนวลนัด

ปณชัย

วิริยะตั้งสกุล

ชินวัตร

ธรรมนิยม

ชินพัฒน์

เฉลิมชเนนทร์

คณิศร

แปงมูล

Women's Team Foil ชญานุศภัฒค์

ชินนะเกิดโชค

ศศินภัสสร์

ดวงพัตรา

กรกฏ

จึงอำนวยชัย

พลอยไพลิน

ทองจำปา

นรมล

หลงทอง

Women's Team Epee กรวรรณ

ธานี

เจษฎาภรณ์

พึ่งขุนทด

พชรพร

วาสนะสมสิทธิ์

วริษา

วิญญา

ศศิภรณ์

พูนเกตุ

ผลงานนักกีฬาฟันดาบทีมชาติไทยใน มหกรรมกีฬาเอเชียนเกมส์ Asian Games[edit]

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 7
ณ กรุงเตหะราน ประเทศอิหร่าน

(สมาคมกีฬาฟันดาบแห่งประเทศไทยฯ ร่วมส่งนักกีฬาฟันดาบทีมชาติไทย เข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งแรก)

พ.ศ.2517 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 10
ณ กรุงโซล สาธารณรัฐเกาหลี
พ.ศ.2529 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 11
ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน
พ.ศ.2533 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 12
ณ เมืองฮิโรชิม่า ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ.2537 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 13
ณ กรุงเทพมหานคร ประเทศไทย
พ.ศ.2541 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 14
ณ เมืองปูซาน สาธารณรัฐเกาหลี
พ.ศ.2545 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 15
ณ กรุงโดฮา ประเทศกาตาร์
พ.ศ.2549 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน Men's Individual Saber วีรเดช

คอธนีย์

Men's Team Saber วีรเดช

คอธนีย์

เอกเทศ

เกตุเอี่ยม

สาเรศ

ลิ่มกังวาฬมงคล

นที

เกตุตันเจริญ

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 16
ณ เมืองกวางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน
พ.ศ.2553 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 17
ณ เมืองอินชอน สาธารณรัฐเกาหลี
พ.ศ.2557 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 18
ณ กรุงจาการ์ต้า และเมืองปาเลมบัง ประเทศอินโดนีเซีย
พ.ศ.2561 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน
ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน เหรียญทอง เหรียญเงิน เหรียญทองแดง
ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา ประเภทการแข่งขัน รายชื่อนักกีฬา
เอเชียนเกมส์ ครั้งที่ 19
ณ เมืองหางโจว สาธารณรัฐประชาชนจีน
พ.ศ.2566 ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน ไม่มีผลงาน

ผลงานนักกีฬาฟันดาบทีมชาติไทยใน มหกรรมกีฬาโอลิมปิกเกมส์ Olympic Games[edit]

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน ผู้ที่เข้าร่วมการแข่งขัน
โอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 21
ณ กรุงมอนทรีล ประเทศแคนาดา

(สมาคมกีฬาฟันดาบแห่งประเทศไทยฯ ร่วมส่งนักกีฬาฟันดาบทีมชาติไทย เข้าร่วมการแข่งขันเป็นครั้งแรก)

พ.ศ.2519 - เสน่ห์ เชาว์สุรินทร์

- ทวีวัฒน์ โหระพรรณ

- สุทธิพงษ์ สันติเทวกุล

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน ผู้ที่เข้าร่วมการแข่งขัน
โอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 28
ณ กรุงเอเธนส์ ประเทศกรีซ
พ.ศ.2547 - วีรเดช คอธนีย์

- ศิริโรจน์ รัฐประเสริฐ

ประเทศเจ้าภาพ ปีที่เข้าแข่งขัน ผู้ที่เข้าร่วมการแข่งขัน
โอลิมปิกเกมส์ ครั้งที่ 29
ณ กรุงปักกิ่ง สาธารณรัฐประชาชนจีน
พ.ศ.2551 - วีรเดช คอธนีย์

- นนทพัฒน์ ปานจันทร์